รีวิว Xiaomi Mijia K ไมโครโฟนสุดล้ำ พร้อมจูนเสียงให้ไพเราะ

รีวิว Xiaomi Mijia K ไมโครโฟนสุดล้ำ พร้อมจูนเสียงให้ไพเราะ

รีวิว Xiaomi Mijia K ไมโครโฟนสุดล้ำ พร้อมจูนเสียงเพี้ยนให้ไพเราะ ผสานการติดตั้งเทคโนโลยีชิปกระจายเสียง DSP สำหรับการเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ รองรับกิจกรรมความบันเทิง และไม่โครโฟนเฉพาะสองตัว สำหรับการปรับเสียงให้ดียิ่งขึ้น

โลกนี้อยู่ยากขึ้นทุกวี่ทุกวัน ? 

เตรียมพบกับ Xiaomi Mijia K ไมโครโฟนสุดล้ำ ที่ไม่ว่าเสียงจะสูงแค่ไหน หรือว่าต่ำเพียงไร ก็พร้อมปรับจูนให้ไพเราะเสนาะหูเหมือนมือโปรมาเอง ใครที่เบื่อตัวเองเสียงเพี้ยนเวลาไปร้องคาราโอเกะ บอกเลยว่าไอเทมชิ้นนี้ตอบโจทย์แบบสุด ๆ

หลังจากที่เปิดตัวไปเมื่อวันที่ 27 ก.ย. ที่ผ่านมา ก็ได้สร้างความฮือฮาในวงการเทคโนโลยีเป็นอย่างมาก ด้วยเทคโนโลยีชิป DSP ซึ่งเป็นการ์ดเสียงสำหรับการวิเคราะห์ และเชื่อมต่ออปุกรณ์ต่าง ๆ ที่เราต้องการ อาทิ โทรทัศน์ หรือมือถือสมาร์ทโฟน และฟีเจอร์ Antipop ในการตัดเสียงหายใจและกรองเสียงทีละพยางค์ด้วยความแม่นยำ พร้อมกับคุณสมบัติการปรับจูนเสียงอันเป็นจุดชูโรงของรุ่นนี้ ซึ่งจะมีความน่าสนใจอย่างไรบ้าง ตามไปส่องกันได้เลย เป็นนวัตกรรมการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ไร้สายที่มีประสิทธิภาพมาก โดยทำหน้าที่เป็นการ์ดเสียง แล้วเชื่อมต่อไปยังสมาร์ทโฟน หรือทีวี ด้วยคุณภาพเสียงใสแจ๋วกันเลยทีเดียว

Antipop ขับเน้นทุกพยางค์ให้ชัด จากที่เกริ่นไปก่อนหน้านี้ ฟีเจอร์ Antipop เป็นแกนหลักในการทำหน้าที่กรองเสียงพยางค์ของเราได้อย่างแม่นยำ สำหรับปรับค่าเสียงให้สมูทลื่นไหลและไม่ผิดเพี้ยนไมโครโฟนสองตัวปรับเสียง โดย Xiaomi Mijia K จะติดตั้งไมโครโฟนแบบเฉพาะ จำนวน 2 ตัว ในการจับเสียงของการพูดหรือร้องเพลงให้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถเชื่อมต่อบูลทูธร่วมกับแอปพลิเคชันอื่น ๆ ได้อีกด้วย

คณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergovernmental Panel on Climate Change หรือ IPCC) ซึ่งเป็นกลุ่มวิจัยวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับภูมิอากาศของสหประชาชาติ ได้สรุปในรายงานฉบับหนึ่งว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เกิดจากมนุษย์ได้ส่งผลกระทบต่อสภาพอากาศและสภาพอากาศสุดขั้วในหลายภูมิภาคทั่วโลก รวมถึงการเพิ่มขึ้นของความถี่ และความรุนแรงของอากาศร้อนสุดขั้ว คลื่นความร้อนจากทะเล และปริมาณน้ำฝนที่สูงขึ้นมาก

ทั้งนี้ ขอบเขตของเหตุการณ์สภาพอากาศสุดขั้วนั้นได้สะท้อนออกมาในการสนทนาสาธารณะบนทวิตเตอร์เช่นกัน โดยตัวอย่างทวีตภาษาอังกฤษระหว่างปี 2013-2020 มีการระบุคำว่า “climate change” (หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ที่เพิ่มจำนวนขึ้นโดยเฉลี่ย 50% ในแต่ละปี

ทวีตเหล่านี้พิสูจน์ถึงความทรงพลังและมีอิทธิพลอย่างมาก เนื่องจากนักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมต่างใช้ทวิตเตอร์ในการสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ รวมถึงใช้เพื่อจัดระเบียบชุมชนของพวกเขา และเชื่อมต่อความ กระตือรือร้นในการปกป้องโลกระหว่างผู้ที่คิดเห็นเหมือนกัน

เอมี่ อูเดลสัน หัวหน้าฝ่ายการตลาดสำหรับแพลตฟอร์มนักพัฒนาของทวิตเตอร์ 

เปิดเผยว่า “เหล่านักพัฒนาโปรแกรมได้สร้างแรงบันดาลใจให้กับเราอย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการช่วยเหลือผู้คนในยามวิกฤตระหว่างที่เกิดภัยธรรมชาติ ซึ่งภาพของ #ExtremeWeather แสดงให้เห็นสิ่งที่สามารถทำได้ เมื่อนักพัฒนาโปรแกรมและชุมชนพันธมิตรของเราใช้ประโยชน์จาก API และนำข้อมูลเชิงลึกเหล่านี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ของสาธารณชน ซึ่งเราหวังให้งานเหล่านี้จะช่วยจุดประกายหัวข้อการสนทนา เพิ่มการรับรู้ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ที่มีความกระตือรือร้นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการบรรเทาภัยพิบัติได้อย่างต่อเนื่อง”

ด้วยการใช้ข้อมูลปริมาณมหาศาลเกี่ยวกับบทสนทนาสาธารณะบนทวิตเตอร์นั้น ทำให้นักพัฒนาโปรแกรมมีโอกาสที่จะสร้างโซลูชัน เพื่อช่วยชุมชนท้องถิ่นในช่วงที่เกิดเหตุการณ์สภาพอากาศภัยพิบัติอันคาดไม่ถึง หรือแม้แต่เพื่อการศึกษาความรู้สึกของสาธารณชนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยปราศจากอคติของมนุษย์

การร่วมกันรับมือกับภาวะฉุกเฉินด้านสภาพอากาศ ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกเป็นที่อยู่อาศัยของประชากรจำนวนมากกว่าครึ่งหนึ่งของโลก และเป็นหนึ่งในภูมิภาคที่อ่อนไหวที่สุดต่อผลกระทบร้ายแรงอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ดังนั้นทวิตเตอร์จึงมีบทบาทสำคัญในการส่งผ่านข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ได้งานได้ทันทีในช่วงที่เกิดเหตุภัยพิบัติทางธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อไปได้ด้วยการสนับสนุนและพันธสัญญาจากเหล่านักพัฒนาที่มุ่งมั่นสร้างสิ่งต่างๆ เพื่อรับมือกับวิกฤตสภาพภูมิอากาศ

แคทเธอรีน รีน ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายนโยบายสาธารณะ และการให้เพื่อสังคม ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกของทวิตเตอร์ กล่าวว่า “บริการแบบเปิดเพื่อสาธารณะที่เป็นเอกลักษณ์ของทวิตเตอร์ ถูกใช้โดยผู้คนจำนวนมากทั่วโลกเพื่อแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลในยามวิกฤต เราตระหนักถึงความรับผิดชอบของเราในการมอบความมั่นใจว่าผู้คนสามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้ โดยเฉพาะในช่วงที่เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และเรายังได้ทำงานเพื่อขยายข้อมูลที่น่าเชื่อถือจากแหล่งสื่อต่างๆ ที่เชื่อถือได้ ซึ่งรวมถึงหน่วยงานของรัฐ ตลอดจนองค์กรบรรเทาสาธารณภัยและอาสาสมัครต่างๆ  เราได้เห็นแล้วว่าข้อมูลของทวิตเตอร์สามารถนำไปใช้ประโยชน์แบบเรียลไทม์ได้อย่างไร เพื่อมอบความช่วยเหลือที่จำเป็นแก่ผู้คนในพื้นที่ประสบภัย เพิ่มการรับรู้และความเข้าใจในวงกว้างเกี่ยวกับผลกระทบของวิกฤตนั้นๆ และที่ผ่านมาทวิตเตอร์ ยังคงมุ่งมั่นที่จะเสริมแกร่งให้กับผู้คนจำนวนมากขึ้นในการมีบทบาทอย่างแข็งขันในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกของสังคมไปพร้อมๆ กันกับพันธมิตรทั้งหลายของเรา”

เกมส์ออนไลน์แนะนำ >>> ป๊อกเด้งออนไลน์